บทความ

โมโน เน็กซ์ ชูเทคโนโลยีสร้างโอกาส พร้อมต่อยอดสู่ตลาดโลก โดย นวมินทร์ ประสพเนตร ประธานกรรมการ รักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โมโน เน็กซ์ จำกัด

โรดแมปสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านกิจการสื่อสู่ระบบนิเวศเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ม.ร.ว.เฉลิมชาตรี ยุคล นับหนึ่ง THACCAวางรากฐานซอฟต์พาวเวอร์ไทย

กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ผลักดันการสร้างคอนเทนต์อย่างเท่าเทียม ตอบโจทย์ซอฟต์พาวเวอร์ไทย โดย ดร.ธนกร ศรีสุขใส ผู้จัดการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์

สร้างแบรนด์คอนเทนต์ไทยให้ถึง ซอฟต์พาวเวอร์ (อำนาจละมุน)ที่ต้องมาพร้อมความรับผิดชอบ โดย กิตติพงษ์ วีระเตชะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มด้านการตลาดและนวัตกรรม กลุ่มบริษัท เดนท์สุ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) 

สาร จากศาสตราจารย์คลินิก นพ.สรณ บุญใบชัยพฤกษ์ เนื่องด้วยครบรอบ 1 ทศวรรษทีวีดิจิทัล

70 ปีทีวีไทย สู่ทีวีดิจิทัล และอนาคต โดย เขมทัตต์ พลเดชนายกสมาพันธ์สมาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (RTBPF )

CEA วางยุทธศาสตร์คอนเทนต์สร้างสรรค์ พร้อมเกื้อหนุนเศรษฐกิจไทย โดย ดร.ชาคริต พิชญางกูร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ CEA

การส่งออกคอนเทนต์สู่ตลาดโลก ผ่านมุมมอง สมรักษ์ ณรงค์วิชัย

โดย ดร.วิชนี ศรีสวัสดิ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มโทรทัศน์ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน)

วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ ชู Thai Flavor To The World ปั้นคอนเทนต์ไทยสู่ตลาดโลก โดยนิพนธ์ ผิวเณร ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิตละคร บริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน)

หนึ่งทศวรรษทีวีดิจิตอล ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.พิรงรอง รามสูต กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ด้านกิจการโทรทัศน์

นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี อดีตกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์เแห่งชาติ ก้าวย่างแห่งอนาคตคอนเทนต์ไทย : แพทองธาร ชินวัตร อดีตประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ

สาร จากนายกสมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) นายสุภาพ คลี่ขจาย

Soft Power (อำนาจละมุน) ความสามารถในการชักจูงใจ ทำให้ผู้อื่นมีความพึงพอใจหรือเต็มใจเปลี่ยนพฤติกรรม ยอมรับ คล้อยตามสิ่งที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้อำนาจ โดยกลไกหลักที่สำคัญในการใช้ Soft Power คือ การสร้างความดึงดูดใจต่อผู้อื่น

การเรียบเรียงบรรทึกประสบการณ์ส่วนหนึ่งในระหว่างสองสัปดาห์ ของการเข้าร่วมประชุมระดับนานาชาติด้านการสื่อสารดิจิทัล ณ มหาวิทยาลัยโซกัง (Sogang University) ประกอบกับการศึกษาดูงานกิจการสถานีโทรทัศน์ อุตสาหกรรมสื่อสร้างสรรค์ การจัดแสดงนวัติกรรมสื่อสารดิจิทัล พิพิธภัณฑสถานและแกลเลอรี่ศิลปวัฒนธรรมแห่งชาติ

การเปรียบเทียบให้เห็นได้อย่างเข้าใจง่าย ถึงประเด็นการกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ไทย กับ แพลทฟอร์ม OTT

จากความพยายามที่จะลดความเหลื่อมล้ำหรือสร้างความเท่าเทียมระหว่างผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ภายในประเทศกับแพลตฟอร์ม OTT จากต่างประเทศ การนำเสนอจะทำให้เห็นภาพถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนเกี่ยวกับกฎระเบียบ เงื่อนไข ที่กำกับดูแลทั้งสองกิจการ นั่นคือกิจการโทรทัศน์ได้รับการกำกับดูแลจากกสทช. ที่มีกฎหมาย และประกาศต่างๆ เป็นต้น ในขณะที่ OTT จากต่างประเทศ มีความอิสระในการดำเนินการมากกว่าผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ในประเทศ

Powered by MakeWebEasy.com