สาระสมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล

ครึ่งทางทีวีดิจิทัล กับภารกิจของกสทช. ผ่านมุมมอง ศ.ดร.พิรงรอง รามสูต

เตรียมพบกับ หนังสือครึ่งทางทีวีดิจิทัล สู่สมรภูมิแข่งเดือดข้ามแพลตฟอร์ม 10 พฤษภาคมนี้

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคในการเลือกชมรายการโทรทัศน์ หรือสื่อต่างๆผ่านแพลตฟอร์ม OTT มากยิ่งขึ้น ทำให้ภูมิทัศน์สื่อเริ่มเปลี่ายนแปลงไป มาฟังการให้สัมภาษณ์มุมมองของอุตสาหกรรม ว่ากำลังจะเดินไปทางใด หรือจะสร้างสมดุลย์ เกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไร โดย นายเดียว วรตั้งตระกูล เลขานุการ สมาคมฯ และประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการช่องวัน สามสิบเอ็ด

TT TV จะมาแทนที่กิจการโทรทัศน์แบบเดิมในประเทศไทยหรือไม่? จากที่กล่าวมาข้างต้น OTT TV สามารถตอบสนองพฤติกรรมของผู้บริโภคยุคใหม่และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคได้มาก ทั้งในรูปแบบของเวลา สถานที่ ข้อผูกมัดและราคาที่น้อยกว่าการชมวิดีโอและโทรทัศน์แบบทั่วไป

Thailand Media Landscape and Trend Update โดยสมาคมมีเดียเยนซี่ และธุรกิจสื่อประเทศไทย

รายงานวิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขันในกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการที่เกี่ยวข้อง Q3/2022

การเปรียบเทียบให้เห็นได้อย่างเข้าใจง่าย ถึงประเด็นการกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ไทย กับ แพลทฟอร์ม OTT

ในปี 2557 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้เปิดประมููลใบอนุุญาตในการใช้คลื่นความถี่เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยมีผู้ชนะการประมููลช่องประเภทธุุรกิจจำนวน 24 ช่อง แบ่งประเภทช่องที่ประมููล เป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่ หมวดเด็กเยาวชน และครอบครัว จำนวน 3 ช่่อง หมวดข่าวสารสาระ จำนวน 7 ช่อง หมวดทั่วไปแบบความคมชัดปกติ (SD) จำนวน 7 ช่อง และหมวดทั่วไปแบบความคมชัดสููง(HD) จำนวน 7 ช่อง นอกจากนี้แล้วยังมีหมวดช่องสาธารณะจำนวน 4 ช่อง ดังนั้น ในช่วงแรกของยุุคโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลนั้น มีจำนวนช่องที่นำเสนอเนื้อหาทั้งหมด 28 ช่่อง

คอนเทนต์ที่ถ่ายทอดผ่านโทรทัศน์สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง และความเป็นอยู่ของผู้คนในแต่ละยุุคสมัยรายการทางโทรทัศน์ของไทยเองก็ได้พัฒนาและก้าวไปตามทิศทางของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งนับจากยุคแอนะล็อกจนถึงดิจิทัล เทคโนโลยี ได้ก้าวเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการพัฒนาช่องทางการรับชมเนื้อหารายการ จนทำให้ผู้ชมสามารถรับชมคอนเทนต์ได้ในหลากหลายช่องทาง

Powered by MakeWebEasy.com