All contents

สำนักงานกสทช. ร่วมกับ สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) และ บริษัท เอจีบี นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) ร่วมกัน รายงาน "Cross Platfom Rating" ประจำสัปดาห์ และประจำเดือนแก่ประชาชนที่สนใจ สำหรับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ และสถาบันศึกษา สามารถดาวน์โหลดการรายงานข้อมูลการวัดผลเรตติ้งประจำเดือนได้จากเว็บไซต์ของสมาคม ตามลิงก์ด้านล้างนี้

สุภาพ คลี่ขจาย นายกสมาคมฯเข้าร่วมเสวนา "สังคมไทยได้อะไรจากข่าวโทรทัศน์" กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ จัดงานสัมมนา Media Alert 2565 “สังคมได้อะไร จากข่าวโทรทัศน์” เพื่อเสนอผลการศึกษา การนำเสนอข่าวช่วงเย็นและค่ำของทีวีดิจิทัลในช่วงเดือน ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 และเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อผลการศึกษา จากผู้เชี่ยวชาญ ด้านวิชาการ วิชาชีพสื่อ ตลอดจนภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

สมาคมฯเข้ายืนหนังสือต่อกสทช เพื่อตรวจสอบและวินิจฉัยเร่งด่วนกรณีการจัดสรรสิทธิในการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลก 2022 (รอบสุดท้าย)

สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล ประเทศไทย โดย นายสุภาพ คลี่ขจาย และคณะทำงานสมาคมฯ เข้าร่วมให้ความเห็นต่อคณะกรรมการกสทช. ตามที่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็น ต่อกรณีการจัดซื้อลิขสิทธิ์ฟุตบอลโลก 2022

สำนักงานกสทช. ร่วมกับ สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) และ บริษัท เอจีบี นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) ร่วมกัน รายงาน "Cross Platfom Rating" ประจำสัปดาห์ และประจำเดือนแก่ประชาชนที่สนใจ สำหรับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ และสถาบันศึกษา สามารถดาวน์โหลดการรายงานข้อมูลการวัดผลเรตติ้งประจำเดือนได้จากเว็บไซต์ของสมาคม ตามลิงก์ด้านล้างนี้

TT TV จะมาแทนที่กิจการโทรทัศน์แบบเดิมในประเทศไทยหรือไม่? จากที่กล่าวมาข้างต้น OTT TV สามารถตอบสนองพฤติกรรมของผู้บริโภคยุคใหม่และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคได้มาก ทั้งในรูปแบบของเวลา สถานที่ ข้อผูกมัดและราคาที่น้อยกว่าการชมวิดีโอและโทรทัศน์แบบทั่วไป

นายสุภาพ คลี่ขจาย นายกสมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) ลงนามบันทึกข้อตกลง ร่วมขับเคลื่อนนวัตกรรมและกำลังคนเพื่อสื่อสร้างสรรค์ผลักดันผลงานไทยสู่สากล

Thailand Media Landscape and Trend Update โดยสมาคมมีเดียเยนซี่ และธุรกิจสื่อประเทศไทย

เดียว วรตั้งตระกูล เลขานุการสมาคม เข้าร่วมเสวนาNBTC Competition Forum 2022 (Digital Media: Game Changing Broadcast Distribution)

สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) เข้าร่วมให้ความคิดเห็น การประชุุมเฉพาะกลุ่ม (Focus Group) การติดตามประเมินผลการดำเนินการและการบริหารของ กสทช.

สำนักงานส่งเสริมการแข่งขันและกำกับดูแลกันเอง (สส.) สำนักงานกสทช. และ สำนักงานบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปาการ ได้จัด การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อ ร่างแนวปฏิบัติ (Guideline) และหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการสื่อสารและบริหารจัดการเพื่อป้องกันการเกิดข่าวลวงในสภาวะวิกฤติ

รายงานวิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขันในกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการที่เกี่ยวข้อง Q3/2022

การเรียบเรียงบรรทึกประสบการณ์ส่วนหนึ่งในระหว่างสองสัปดาห์ ของการเข้าร่วมประชุมระดับนานาชาติด้านการสื่อสารดิจิทัล ณ มหาวิทยาลัยโซกัง (Sogang University) ประกอบกับการศึกษาดูงานกิจการสถานีโทรทัศน์ อุตสาหกรรมสื่อสร้างสรรค์ การจัดแสดงนวัติกรรมสื่อสารดิจิทัล พิพิธภัณฑสถานและแกลเลอรี่ศิลปวัฒนธรรมแห่งชาติ

สำนักงานกสทช. ร่วมกับ สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) และ บริษัท เอจีบี นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) ร่วมกัน รายงาน "Cross Platfom Rating" ประจำสัปดาห์ และประจำเดือนแก่ประชุาชนที่สนใจ สำหรับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ และสถาบันศึกษา สามารถดาวน์โหลดการรายงานข้อมูลการวัดผลเรตติ้งประจำเดือนได้จากเว็บไซต์ของสมาคม ตามลิงก์ด้านล้างนี้

สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) ร่วมกับ บริษัท เอจีบี นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) จำกัด และ สำนักงานกสทช. สรุปข้อมูลเรตติ้งโครงการสำรวจความนิยมช่องรายการโทรทัศน์ประเภทการสำรวจรายการดิจิทัลแบบ CROSS PLATFORM และรายงานข้อมูลประจำเดือนกันยายน

เนื่องจากพฤติกรรมของผู้บริโภคในสังคมยุคดิจิทัลปัจจุบัน มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผู้บริโภค สามารถเลือกรับชมเนื้อหารายการผ่านแพลตฟอร์มที่หลากหลายขึ้น โดยใช้อุปกรณ์อื่นๆ นอกเหนือจากโทรทัศน์ ไม่ว่าจะเป็นการรับชมผ่านทางโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต

การเปรียบเทียบให้เห็นได้อย่างเข้าใจง่าย ถึงประเด็นการกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ไทย กับ แพลทฟอร์ม OTT

จากความพยายามที่จะลดความเหลื่อมล้ำหรือสร้างความเท่าเทียมระหว่างผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ภายในประเทศกับแพลตฟอร์ม OTT จากต่างประเทศ การนำเสนอจะทำให้เห็นภาพถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนเกี่ยวกับกฎระเบียบ เงื่อนไข ที่กำกับดูแลทั้งสองกิจการ นั่นคือกิจการโทรทัศน์ได้รับการกำกับดูแลจากกสทช. ที่มีกฎหมาย และประกาศต่างๆ เป็นต้น ในขณะที่ OTT จากต่างประเทศ มีความอิสระในการดำเนินการมากกว่าผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ในประเทศ

สำนักงานกสทช. ร่วมกับ สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) และ บริษัท เอจีบี นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) ร่วมกัน รายงาน "Cross Platfom Rating" ประจำสัปดาห์ และประจำเดือนแก่ประชุาชนที่สนใจ สำหรับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ และสถาบันศึกษา สามารถดาวน์โหลดการรายงานข้อมูลการวัดผลเรตติ้งประจำเดือนได้จากเว็บไซต์ของสมาคม ตามลิงก์ด้านล้างนี้

On August 11, 2022, at 10:00 a.m., at the Office of the NBTC, the launch of the first new television ratings survey in ASEAN, the cross-platform ratings, took place.

(July 27, 2022): The Association of Digital Television Broadcasting (Thailand) together with the Thai Media Fund organized the PDPA Training Program for Digital Television Operators to impart knowledge to the media and operators of digital television systems for all 15 channels at the Kamolmat Room, 6th Floor, Sukosol Hotel, Bangkok.

การประชุม "PDPA สำหรับผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์"

เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2565 เวลา 13.30 น. ณ อาคารอำนวยการ สำนักงานกสทช.

22 พ.ค.นี้ “อดิศักดิ์” เผย ใช้อาสา 2,500 คน ลงหน้าคูหา 1 ทุ่ม รู้ผล 80% ก่อน กกต.แน่ ส่วน ส.ก.ใช้แบบนับคะแนนหน้าหน่วยเสร็จ

สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย), สมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์, องค์กรสื่อกว่า 30 สำนัก มหาวิทยาลัยต่างๆรวมถึงองค์กรภาครัฐ ร่วมมือ รายงานผลคะแนนเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (อย่างไม่เป็นทางการ)

นายสุภาพ คลี่ขจาย นายกสมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) เปิดเผยว่า ทางสมาคมและสมาชิกช่องทีวีดิจิทัลมีความเห็นตรงกันยืนยันหากยกเลิก “ประกาศเรียงช่องปี 58” จะทำให้อุตสาหกรรมเสียหายมหาศาล ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ชม ไม่ว่าจะเป็นการหาช่องที่ต้องการรับชมไม่เจอ , จำนวนผู้ช่องทีวีดิจิทัลลดลง

ในที่สุดโครงการพัฒนาระบบสำรวจความนิยมรายการโทรทัศน์ (tv rating) แบบใหม่ข้ามแพลตฟอร์ม ที่สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) ยื่นเสนอโครงการขอสนับสนุนงบประมาณ 288.8 ล้านบาท จาก กสทช. ก็ผ่านการพิจารณาอนุมัติและเซ็นสัญญาบันทึกความเข้าใจร่วมกันแล้ว หลังจากยืดเยื้อมาตั้งแต่ปี 2562

คอนเทนต์ที่ถ่ายทอดผ่านโทรทัศน์สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง และความเป็นอยู่ของผู้คนในแต่ละยุุคสมัยรายการทางโทรทัศน์ของไทยเองก็ได้พัฒนาและก้าวไปตามทิศทางของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งนับจากยุคแอนะล็อกจนถึงดิจิทัล เทคโนโลยี ได้ก้าวเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการพัฒนาช่องทางการรับชมเนื้อหารายการ จนทำให้ผู้ชมสามารถรับชมคอนเทนต์ได้ในหลากหลายช่องทาง

ในปี 2557 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้เปิดประมููลใบอนุุญาตในการใช้คลื่นความถี่เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยมีผู้ชนะการประมููลช่องประเภทธุุรกิจจำนวน 24 ช่อง แบ่งประเภทช่องที่ประมููล เป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่ หมวดเด็กเยาวชน และครอบครัว จำนวน 3 ช่่อง หมวดข่าวสารสาระ จำนวน 7 ช่อง หมวดทั่วไปแบบความคมชัดปกติ (SD) จำนวน 7 ช่อง และหมวดทั่วไปแบบความคมชัดสููง(HD) จำนวน 7 ช่อง นอกจากนี้แล้วยังมีหมวดช่องสาธารณะจำนวน 4 ช่อง ดังนั้น ในช่วงแรกของยุุคโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลนั้น มีจำนวนช่องที่นำเสนอเนื้อหาทั้งหมด 28 ช่่อง

Powered by MakeWebEasy.com